คงไม่มีใครอยากถูกแยกจากคนอื่นเพราะแตกต่างจากคนทั่วไป เช่นเดียวกับคนที่เป็นโรคออทิสติก ความบกพร่องทางพัฒนาการ มีปัญหาในการสื่อสาร รวมถึงการเข้าสังคม
Luxai สตาร์ทอัพจากประเทศลักเซมเบิร์ก จึงคิดค้นพัฒนาหุ่นยนต์ชื่อ “QTrobot”มาเป็นเพื่อนช่วยเสริมพัฒนาการเด็ก ๆ ที่เป็นโรคออทิสติกในหลาย ๆ ด้าน สามารถได้ยิน พูดคุยโต้ตอบกันได้ มองเห็น แถมยังแสดงสีหน้าผ่านจอ LCD เสริมสมาธิในการจดจ่อได้นานขึ้นด้วย
เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ดีต่อใจ มีประโยชน์กับครอบครัวและคุณครูผู้สอนได้มากเลยทีเดียว
Related Articles
4 Graphic Design ไอเดียสำหรับ Social Media ปี 2020
จากที่ทั้ง Pantone และ Shutterstock เปิดโพย Color Trends ของปี 2020 กันไปแล้วนะครับ โดยของ…
ดนตรีสำคัญแค่ไหนกับโฆษณา
ดนตรีหรือเพลงประกอบยังสำคัญกับ Ad แค่ไหน? นี่อาจเป็นคำถามที่น่าสนใจสำหรับคนทำ Ad ยุคนี้ ในโลกที่ไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตของคนเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว จริงอยู่ที่ดนตรี หรือ Sound…
ย้อนดู Consumer Behavior Trend 2018 เทรนด์พฤติกรรมของผู้บริโภค
ย้อนดู เทรนด์พฤติกรรมผู้บริโภคที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในปี 2018 วันนั้นจนวันนี้ มีอะไรเกิดขึ้นจริงแล้วบ้าง มาดูกัน หมายเหตุ: บทความเมื่อปี 2018 6…
เจาะพฤติกรรมผู้บริโภคปี 2019 ด้าน Digital Marketing และ Creative
จากงาน Creative Talk x Startup Thailand 2019 ที่ผ่านมา ใน session…
Ai With Love กับ 4 เครื่องมือเพื่อกราฟิกดีไซน์เนอร์
มีคนหลายคนกลัวกันว่า Ai จะมาแย่งงานของมนุษย์ แต่ถ้ามองในมุมกลับกัน จริง ๆ แล้วมันก็มีอะไรดี ๆ หลายอย่างที่ Ai…
Jones Salad : เพจร้านสลัดที่ตั้งใจเล่าเรื่องสุขภาพที่มีสาระในแบบไร้สาระ
*บทสัมภาษณ์นี้สัมภาษณ์เมื่อปี 2018 โดยรายการ FounderCast คลิกฟังได้ที่นี่* ทำไมต้องชื่อ Jones Salad จริงๆ มาจาก…
‘ปลาใหญ่กินปลาเล็ก’ สะท้อนเศรษฐกิจเกาหลีใต้ผ่านซีรีส์ Itaewon Class ธุรกิจปิดเกมแค้น
*[บทความมีกล่าวถึงเนื้อหาสำคัญของซีรีส์] ‘ปลาใหญ่กินปลาเล็ก (สำนวน) ผู้ที่มีอำนาจมากกว่ากดขี่ข่มเหง หรือเอาเปรียบผู้อ่อนแอ หรือผู้ที่มีอำนาจน้อยกว่า’ หลังจากที่ชมตอน 14…
รวมคำแนะนำสำหรับผู้ประกอบการ agency จาก Mentoring Session งาน CTC2020
ผมได้รับโอกาสให้เป็นหนึ่งใน mentor ในงาน Creative Talk Conference 2020 เมื่อวันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม…
การกลับมาของ Drive-In Theater โรงหนังกลางแจ้งที่รักษาระยะห่างระหว่างชมภาพยนตร์
แล้วชีวิตของทุกคนก็เปลี่ยนแปลงไปอีกครั้ง เมื่อโรคระบาดลุกลามไปทั่วโลก คุกคามความเป็นอยู่ของเราจนต้องปรับทั้งวิถีการทำงาน การกิน และการอยู่ภายในเวลาอันรวดเร็ว อีกทั้งยังไม่มีใครคาดการณ์ได้ว่าสถานการณ์นี้จะจบลงอย่างไร แต่มนุษยชาติไม่เคยแล้งความคิดสร้างสรรค์ โจทย์ใหญ่อย่างการเว้นช่องว่างทางสังคม (Social Distancing)…